Turnitin เป็นเครื่องมืออีกทางเลือกหนึ่ง ที่ใช้ในการตรวจสอบการคัดลอกผลงานทางวิชาการ ในรูปแบบของสิ่งพิมพ์ออนไลน์ที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ในกรณีที่ทางมหาวิทยาลัยต้องการใช้โปรแกรม Turnitin ในระบบไอทีสิส (iThesis) มีวิธีการดำเนินการดังนี้ ทางมหาวิทยาลัยต้องดำเนินการนำโปรแกรม Turnitin มาใช้ภายในมหาวิทยาลัยก่อน หลังจากที่ทางมหาวิทยาลัยดำเนินการดังกล่าวเรียบร้อย สามารถดำเนินการต่อในขั้นตอนที่ 2. เข้าสู่ระบบใน role ของ Admin เข้าไปยังเมนู System Configuration กดปุ่ม Ctrl+f เพื่อเข้าสู่ช่องค้นหา กรอกคำว่า turnitin จะปรากฏข้อความที่ถูกไฮไลท์ในส่วนของการตั้งค่าที่เกี่ยวข้องกับ Turnitin ดังภาพ ติ๊กที่ช่อง On เพื่อทำการเปิดใช้งาน Turnitin ในระบบไอทีสิสทุกช่องที่เกี่ยวข้อง จากนั้นระบบจะปรากฎช่องสำหรับใส่ข้อมูลผลการตรวจสอบ Turnitin ที่หน้าเมนู REPORT DATA ในเมนูย่อย After Defense
เนื้อหาในส่วนของสมการ หรืออักขระพิเศษแสดงผลไม่ถูกต้อง ในรูปแบบ PDF file
หลังจากนิสิตนักศึกษาทำการ Save to cloud ในรูปแบบของไฟล์ .pdf เรียบร้อยแล้ว พบว่าเนื้อหาบางส่วนของวิทยานิพนธ์ ในส่วนของสมการ หรือตัวอักษรพิเศษนั้นมีการแสดงผลที่เปลี่ยนเเปลงไป เช่น แสดงผลเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยม หรือไม่แสดงผลเลย ซึ่งมีสาเหตุเกิดขึ้นจากการที่สมการ หรืออักขระพิเศษนั้น ๆ ไม่ใช่ฟอนต์(Font) ตามปกติที่มีอยู่แล้วในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ที่นิสิตนักศึกษาใช้ ทำให้ Microsoft Word ไม่สามารถอ่านค่า และแสดงผลได้ ซึ่งหากเกิดกรณีนี้ขึ้น นิสิตนักศึกษาสามารถแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง วิธีการดำเนินการ 1. ทำการค้นหาเมนูด้วยการ Search window โดยการกดคลิกขวาที่สัญลักษณ์วินโดว์บริเวณแถบด้านล่างของหน้าจอคอมพิวเตอร์ จากนั้นคลิกที่คำว่า Search .2. พิมพ์คำว่า intl.cpl ลงในกล่องค้นหา จากนั้นให้ทำการคลิกเมื่อเมนูดังกล่าวปรากฎขึ้น . 3. จะปรากฎหน้าต่าง Region และหน้าแรกของเมนู(Formats) ขึ้น 4. ทำการตั้งค่า Format โดยทำการเปลี่ยนให้เป็น Match Windows […]
การใช้เมนู Draft Version ในบทบาทผู้ดูแลระบบ (Admin) และเจ้าหน้าที่บัณฑิตวิทยาลัย (Graduate Staff)
เมนู Draft Version เมนู Draft Version เป็นเมนูที่เจ้าหน้าที่ผู้ดูแลระบบ และเจ้าหน้าที่บัณฑิตวิทยาลัย ใช้สำหรับตรวจสอบข้อมูล และรายชื่อของนิสิตนักศึกษาผู้ที่ส่งวิทยานิพนธ์ฉบับร่าง (Draft of thesis / IS) ที่รอการพิจารณาจากอาจารย์ที่ปรึกษา และได้รับการอนุมัติจากอาจารย์ที่ปรึกษาเรียบร้อยแล้ว ซึ่งการส่งวิทยานิพนธ์ฉบับร่างสำหรับรูปแบบการวิจัยจะมีการทำเอกสารวิทยานิพนธ์ฉบับร่าง ตามคณะ และตามภาคการศึกษา โดยจะมีข้อมูลการอนุมัติจากอาจารย์ที่ปรึกษา ซึ่งสามารถ Export เป็นไฟล์ CSV ได้ โดยวิธีการใช้งานจะเป็นลักษณะเดียวกันกับเมนู Proposal ตามบทบาท เจ้าหน้าที่ผู้ดูแลระบบ (Admin) และ เจ้าหน้าที่บัณฑิตวิทยาลัย โดยเมนู Draft Version นี้ จะปรากฎขึ้นในกรณีที่สถาบันนั้น ๆ มีกระบวนการส่งวิทยานิพนธ์ฉบับร่าง (Draft thesis) ซึ่งหากในสถาบันใดไม่มีขั้นตอนนี้ จะไม่มีปุ่มนี้ปรากฎขึ้น วิธีการใช้งานเมนู Draft Version คลิกที่เมนู Draft Version เลือกข้อมูลประเภทเอกสารวิทยานิพนธ์ที่ต้องการตรวจสอบข้อมูล โดยข้อมูลประเภทแต่ละเมนู คือรูปแบบการวิจัยที่จะปรากฎเป็นเมนูย่อยว่าประเภทใดจะมีการทำวิทยานิพนธ์ฉบับร่าง ซึ่งขึ้นอยู่กับข้อกำหนดของแต่ละสถาบันการศึกษา เลือกเงื่อนไขในการตรวจสอบข้อมูล ได้แก่ […]
การดาวน์โหลดไฟล์บทความทางวิชาการจากฐานข้อมูล ISI
ISI คือ ฐานข้อมูลของเว็บไซต์อ้างอิงวารสารทางวิชาการ การทำการดาวน์โหลดบทความจากฐานข้อมูล ISI มีวิธีการดังนี้ เข้าไปยังเว็บไซต์ของ Scopus ได้ ที่นี่ ทำการค้นหาบทความวิชาการตามที่ต้องการด้วยการใส่ key การค้นหาตามที่ต้องการ(จากตัวอย่างทำการค้นหาด้วยชื่อผู้เขียน) และกดปุ่ม search เพื่อทำการค้นหา . . คลิกเปลี่ยนประเภทของไฟล์เพื่อการ download ให้เลือกตัวเลือก save to other file format . . ระบุข้อมูลดังรูปภาพด้านล่าง และคลิกที่ปุ่ม send .
การดาวน์โหลดไฟล์บทความจากฐานข้อมูล Scopus
Scopus เป็นฐานข้อมูลบรรณานุกรมที่มีการรวบรวมบทความ และการอ้างอิงจากวารสารวิชาการทางด้านต่างๆ ในรูปแบบทคัดย่อ ซึ่งเป็นแหล่งรวบรวมฐานข้อมูลวิชาการสากลที่สำคัญ ซึ่งผู้ใช้สามารถเข้าไปใช้งานได้ผ่าน https://www.scopus.com ซึ่งวิธีการทำการดาวน์โหลดไฟล์บทความจากฐานข้อมูล Scopus มีวิธีการดังนี้ เข้าสู่เว็บไซต์ของ Scopus ที่นี่ จากนั้นทำการ login เข้าสู่ระบบ ค้นหาบทความวิชาการตามที่ต้องการด้วย key การค้นหาต่างๆ (ตัวอย่างค้นหาด้วยชื่อผู้เขียน) และกดที่ปุ่ม search เพื่อค้นหา . . กรณีที่มีผลการค้นหาคล้ายคลึงกันหลายรายการให้เลือกรายการที่ต้องการ (หมายเลข1) และคลิกที่ Show Document เพื่อดูรายการ (หมายเลข2) . . ปรากฏรายการของบทความให้เลือกรายการที่ต้องการ (สามารถเลือกทั้งหมดได้ โดยให้คลิกที่ปุ่ม All) เมื่อได้รายการที่ต้องการแล้วให้คลิกที่เครื่องหมายลูกศรชี้ลงใกล้คำว่า C SV export (หมายเลข1) . . จะแสดงแบบฟอร์มสำหรับระบุข้อมูลที่ต้องการ […]
(Admin) การเพิ่มข้อมูลบทความทางวิชาการในฐานข้อมูล
เนื่องจากระบบจะมีการจัดเก็บฐานข้อมูลบทความตีพิมพ์ของอาจารย์มีการเก็บข้อมูลบทความที่อยู่ในฐานข้อมูลของระบบ ซึ่งเกิดมาจากค้นหาบทความทางวิชาการด้วยคำค้น (keyword) ในเว็บไซต์ฐานข้อมูลของทั้ง ISI และ Scopus โดยมีการนำข้อมูลบทความเข้าสู่ระบบตั้งแต่เมื่อมีการทำการติดตั้งระบบ iThesis ในเมนู Publication & IP ของอาจารย์ ให้ทำการคลิกที่แท็บ Search in Publication Database . . . ระบบจะทำการแนะนำ (Suggestion) บทความที่คาดว่าเป็นของอาจารย์ โดยกลไกคือ ระบบจะตรวจสอบชื่อที่ใช้ในการตีพิมพ์ (Authoring name) ของอาจารย์ว่าตรงกับชื่อที่ใช้ในการตีพิมพ์ของบทความในฐานข้อมูลที่มีอยู่หรือไม่ หากพบว่าตรงกันจะแสดงรายการขึ้นมาเพื่อให้อาจารย์ได้ทำการยืนยัน (Verify) ว่าบทความนั้นเป็นของตน แต่ในกรณีที่ไม่พบว่ามีบทความใด ๆ ที่มีชื่อในการตีพิมพ์ตรงกับของอาจารย์เลย แสดงว่าข้อมูลบทความวิจัยในฐานข้อมูลอาจมีไม่ครบถ้วน หรือไม่ครอบคลุมนั่นเอง ดังนั้นในส่วนของการค้นหาข้อมูลผลงานทางวิชาการของอาจารย์ ทางผู้ดูแลระบบสามารถเพิ่มข้อมูลของฐานข้อมูลบทความทางวิชาการได้ โดยเข้าเว็บไซต์ iThesis และเข้าสู่ระบบด้วยบัญชีผู้ดูแลระบบจากนั้นไปที่เมนู Curriculum portfolio > Link to portfolio . . จากนั้นจะปรากฏแท็บ Portfolio ให้คลิกที่เมนู […]
การใช้งานเมนู Proposal ในบทบาทผู้ดูแลระบบ (Admin)
เมนู Proposal เมนู Proposal เป็นเมนูที่เจ้าหน้าที่ผู้ดูแลระบบ (Admin) ใช้งานเพื่อตรวจสอบการส่งโครงร่างวิทยานิพนธ์ของนิสิตนักศึกษา ทั้งในส่วนของวิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ หรืออื่นๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับทางสถาบันนั้น ๆ จะกำหนด โดยระบบจะเก็บข้อมูลแยกเป็นภาคการศึกษา คณะ สาขาหรือภาควิชา และจะมีข้อมูลการอนุมัติจากอาจารย์ที่ปรึกษา และเจ้าหน้าที่ ซึ่งสามารถทำการ Export เป็นไฟล์ CSV ได้ เมื่อคลิกที่เมนู Proposal จะพบแสดงเมนูย่อยประเภทเอกสารวิทยานิพนธ์ที่มีการทำโครงร่างวิทยานิพนธ์ (Proposal) โดยขึ้นอยู่กับข้อกำหนดของแต่ละสถาบันการศึกษา ยกตัวอย่าง เช่น ประเภทเอกสารวิทยานิพนธ์ Dissertation (ดุษฎีนิพนธ์), Thesis (วิทยานิพนธ์), Independent (การค้นคว้าอิสระ) และ Thematic paper (สารนิพนธ์) ที่มีการทำโครงร่างวิทยานิพนธ์ในระบบไอทีสิส วิธีการใช้งานเมนู Proposal หลังจากที่เจ้าหน้าที่ทำการเข้าสู่ระบบผ่าน Web Portal ในบทบาท Admin (ผู้ดูแลระบบ) ให้กดปุ่มเมนู Proposal […]
การเพิ่มข้อมูลบทความทางวิชาการในฐานข้อมูล
เนื่องจากระบบจะมีการจัดเก็บฐานข้อมูลบทความตีพิมพ์ของอาจารย์มีการเก็บข้อมูลบทความที่อยู่ในฐานข้อมูลของระบบ ซึ่งเกิดมาจากค้นหาบทความทางวิชาการด้วยคำค้น (keyword) ในเว็บไซต์ฐานข้อมูลของทั้ง ISI และ Scopus โดยมีการนำข้อมูลบทความเข้าสู่ระบบตั้งแต่เมื่อมีการทำการติดตั้งระบบ iThesis ในเมนู Publication & IP ของอาจารย์ ให้ทำการคลิกที่แท็บ Search in Publication Database . . . ระบบจะทำการแนะนำ (Suggestion) บทความที่คาดว่าเป็นของอาจารย์ โดยกลไกคือ ระบบจะตรวจสอบชื่อที่ใช้ในการตีพิมพ์ (Authoring name) ของอาจารย์ว่าตรงกับชื่อที่ใช้ในการตีพิมพ์ของบทความในฐานข้อมูลที่มีอยู่หรือไม่ หากพบว่าตรงกันจะแสดงรายการขึ้นมาเพื่อให้อาจารย์ได้ทำการยืนยัน (Verify) ว่าบทความนั้นเป็นของตน แต่ในกรณีที่ไม่พบว่ามีบทความใด ๆ ที่มีชื่อในการตีพิมพ์ตรงกับของอาจารย์เลย แสดงว่าข้อมูลบทความวิจัยในฐานข้อมูลอาจมีไม่ครบถ้วน หรือไม่ครอบคลุมนั่นเอง ดังนั้นในส่วนของการค้นหาข้อมูลผลงานทางวิชาการของอาจารย์ ทางผู้ดูแลระบบสามารถเพิ่มข้อมูลของฐานข้อมูลบทความทางวิชาการได้ โดยเข้าเว็บไซต์ iThesis และเข้าสู่ระบบด้วยบัญชีผู้ดูแลระบบจากนั้นไปที่เมนู Curriculum portfolio > Link to […]
(Admin) การใช้งานเมนูย่อย List of Advisors/Examiners ในเมนู MANAGE ADVISOR/EXAMINER
เมนู List of Advisors เมนู List of Advisors อยู่ภายใต้เมนู Manage Advisor/Examiner ซึ่งเป็นเมนูสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลระบบ (Administrator) และเจ้าหน้าที่บัณฑิตศึกษา (Graduate staff) ใช้งานเพื่อเพิ่มรายชื่ออาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย หรือตรวจสอบรายชื่ออาจารย์ที่อยู่ในระบบฯ ก่อนการเพิ่มรายชื่ออาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย ส่วนประกอบของเมนู List of Advisors/Examiners ประกอบด้วย List of Advisors/Examiners – แสดงจำนวนรายชื่อของอาจารย์ที่อยู่ภายในระบบ Search name – ส่วนของการค้นหาข้อมูล ฟอร์มการกรอกข้อมูล Citizen ID/Passport – หมายเลขบัตรประจำตัวประชาชน หรือหมายเลขพาสปอร์ท (กรณีที่เป็นอาจารย์ชาวต่างชาติ) Full Name TH – ชื่อ-นามสกุลภาษาไทย (กรณีเป็นอาจารย์ชาวต่างชาติ ให้กรอกข้อมูลดังตัวอย่าง เช่น อดัม สมิธ) Full Name […]
การทำตัวเอียง/ขีดเส้นใต้ ในหน้าสารบัญ (style caption)
ในการจัดทำสารบัญไม่ว่าจะเป็นสารบัญหลัก สารบัญรูปภาพ สารบัญภาพประกอบ หรือสารบัญตารางก็ตาม ผู้ใช้งานระบบ (นิสิต/นักศึกษา) สามารถทำการเปลี่ยนแปลงรูปแบบหัวข้อสารบัญได้ ยกตัวอย่างเช่น กรณีที่นิสิต/นักศึกษามีการพิมพ์ชื่อวิทยาศาสตร์ลงในหัวข้อสารบัญ ซึ่งชื่อวิทยาศาสตร์จะมีการใช้รูปแบบตัวอักษรเอียง หรือขีดเส้นใต้ตามเหมาะสม แต่ในบางครั้งอาจพบปัญหาตัวเอียง/ขีดเส้นใต้ไม่แสดงผลในหน้าสารบัญ ซึ่งมีแนวทางการตั้งค่าดังต่อไปนี้ เลือกหัวข้อที่ต้องการอ่าน การทำตัวเอียง/ขีดเส้นใต้ในหน้าสารบัญ แนวทางการแก้ไขปัญหากรณีที่ตัวเอียงไม่แสดงผลในหน้าสารบัญ การทำตัวเอียง/ขีดเส้นใต้ ในหน้าสารบัญ ในกรณีนี้จะยกตัวอย่างเป็นชื่อวิทยาศาสตร์ดังภาพด้านล่าง ให้ผู้ใช้กำหนดเนื้อหาที่ต้องการให้ปรากฏในหน้าสารบัญตามปกติ กดที่ Figure . . เนื้อหาจะมาปรากฎในหน้าสารบัญ กลับมาที่หน้าเนื้อหา ให้นำ Cursor ลากคลุมดำคำในส่วนที่ต้องการ > คลิกขวา > ทำการกำหนดรูปแบบตัวอักษร(ในกรอบสีแดง) > Bookmark > รูปแบบตัวอักษรจะปรากฏในหน้าสารบัญตามที่ผู้ใช้ต้องการ . . แนวทางการแก้ไขปัญหากรณีที่ตัวเอียงไม่แสดงผลในหน้าสารบัญ เข้าไปยังหน้าสารบัญที่พบปัญหา เข้าไปที่ Home > มุมขวาล่างของแถบ ribbon […]