Documents & Downloads

เมนู Documents & Downloads เป็นเมนูที่ใช้งานเพื่ออัพโหลดสื่อการสอน ทั้งในรูปแบบของเอกสารหรือวีดีโอ รวมทั้งไฟล์ set up ของ Add-in เวอร์ชันล่าสุด เพื่อให้นิสิต/นักศึกษาดาวน์โหลดไปติดตั้งใช้งาน เมนูดังกล่าวมีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือ Tutorials Add-in Solution: Document การเพิ่มเอกสาร หรือ VDO การใช้งาน เข้าใช้งานที่เมนู System Settings เลือกเมนู Document & Downloads คลิกที่ Add new tutorials+ กรอกข้อมูลลงในฟอร์มที่ปรากฏ Display name ชื่อไฟล์ที่ต้องการให้แสดงผล Type upload ประเภทของไฟล์อัพโหลด document ไฟล์เอกสาร Choose file upload เพื่อเลือกไฟล์เอกสาร media link ไฟล์ VDO […]

Intellectual repository (Librarian)

เมนู Intellectual repository เป็นเมนูที่เจ้าหน้าที่ห้องสมุด(Librarian) ใช้งานสำหรับตรวจสอบข้อมูลวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ ที่พร้อมจะนำเข้าสู่คลังปัญญาของสถาบัน (IR)  โดยเจ้าหน้าที่สามารถตั้งค่าระบบ DSpace ได้ และสามารถตั้งค่าหมายเลข Collection (Collection ID) รวมทั้งแสดงประวัติการนำเข้าข้อมูลลงสู่คลังปัญญาของสถาบันได้ผ่านเมนูนี้ เมนู Intellectual repository สำหรับเจ้าหน้าที่ห้องสมุด ประกอบด้วย 4 เมนูย่อย ๆ ดังนี้ Transfer & Export Configuration Collections History Transfer & Export เมนูสำหรับแสดงข้อมูลส่วนของเล่มวิทยานิพนธ์ที่ส่งไปยังคลังปัญญาของสถาบัน (IR) วิธีการใช้งาน Transfer & Export มีดังนี้ ผู้ใช้งานเลือกคณะที่ต้องการทราบข้อมูลจากตัวเลือก Select faculty / college of คณะที่มีวิทยานิพนธ์ที่สามารถส่งเข้าสู่คลังปัญญาได้ จะมีจำนวนรวมปรากฏอยู่ทางด้านหลังของรายชื่อคณะ กรณีที่มีข้อมูลพร้อมจะนำเข้าสู่คลังปัญญา(IR) จะมีการแสดงผลรายชื่อดังภาพ ทำเครื่องหมายหน้ารายชื่อที่ต้องการส่งข้อมูลเข้าสู่ […]

การส่งวิทยานิพนธ์ฉบับร่าง

Applies to: iThesis Description: เมื่อผู้ใช้งานเขียนวิทยานิพนธ์กระทั่งเนื้อหาพร้อมสอบป้องกันวิทยานิพนธ์(defense) ก่อนการสอบป้องกันฯ ผู้ใช้งานจะต้องส่งวิทยานิพนธ์ฉบับร่าง(Draft thesis) ให้อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบความเรียบร้อยก่อน และหลังจากที่ผู้ใช้งานได้รับการพิจารณาโครงร่างวิทยานิพนธ์จากอาจารย์ที่ปรึกษา และเขียนวิทยานิพนธ์มาในระยะหนึ่งที่พร้อมส่งเป็นวิทยานิพนธ์ฉบับร่าง รวมทั้งพร้อมที่จะสอบป้องกันฯ Solution: เลือกเวอร์ชันที่ต้องการส่งเป็นวิทยานิพนธ์ฉบับร่างจากเมนู Revision & Approval และคลิกที่ปุ่มคำสั่ง Save as DRAFT VERSION หมายเหตุ:               หากเลือกเวอร์ชันและคลิกที่ปุ่มคำสั่ง Save as DRAFT VERSION แล้ว และระบบปรากฎ error ดังภาพทางด้านล่าง ให้ผู้ใช้งานทำตามวิธีการที่อธิบาย ในบทความ การตรวจอักขราวิสุทธิ์ หลังการคลิกที่ปุ่มคำสั่ง Save as DRAFT VERSION ระบบจะส่งอีเมลไปยังอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อพิจารณาอนุมัติ และส่งอีเมลไปยังอาจารย์ที่ปรึกษาร่วมและผู้ใช้งาน เพื่อแจ้งให้ทราบว่า ณ ขณะนั้นระบบได้ส่งอีเมลให้กับอาจารย์ที่ปรึกษาหลักแล้ว […]

การตรวจอักขราวิสุทธิ์

Applies to: iThesis Description: การตรวจการลักลอกวรรณกรรมผ่านระบบอักขราวิสุทธิ์บนระบบไอทีสิสนั้น เนื่องจากข้อกำหนดในการตรวจการลักลอกฯ ไม่เหมือนกัน ในบางสถาบันกำหนดให้ทำการตรวจโดยอัตโนมัติ แต่ในบางสถาบันไม่ได้บังคับให้ตรวจในทุกเวอร์ชัน ผู้ใช้งานสามารถเลือกตรวจในเวอร์ชันที่ต้องการส่งให้อาจารย์ที่ปรึกษาอนุมัติเท่านั้น ซึ่งในกรณีที่ผู้ใช้งานต้องการตรวจฯ หรือเมื่อต้องการส่งเป็นวิทยานิพนธ์ฉบับร่าง (draft) หรือฉบับสมบูรณ์ (complete version) สามารถตรวจสอบได้ด้วยวิธีการดังที่จะอธิบายในส่วนของ solution Solution: เข้าใช้งานเมนู Revision & Approval คลิกที่ Check Plagiarism Detection เมื่อต้องการตรวจการลักลอกวรรณกรรมผ่านอักขราวิสุทธิ์ดังหมายเลข 2 หลังคลิกที่ “Check Plagiarism Detection” ระบบจะแสดง Pop-up เพื่อยืนยันการตรวจการลักลอกวรรณกรรมผ่านอักขราวิสุทธิ์ หากผู้ใช้งานยืนยันต้องการตรวจ ให้คลิกที่ OK หากผู้ใช้งานไม่ต้องการให้ตรวจ ให้คลิกที่ Cancel หลังการคลิกที่ OK ระบบจะเริ่มตรวจ โดยจะแสดงผลเป็นดังนี้ Loading In progress Running Queued Result […]

วิธีการ Inactivate Add-In

Applies to:         Add-In ทุกเวอร์ชั่น Description: การใช้งาน Add-In นอกจากจะมีการติดตั้ง และการ Activate Add-In ก่อนการใช้งานแล้ว ผู้ใช้งานสามารถ Inactivate Add-In ได้เช่นกัน ซึ่งมีวิธีการดังนี้ Solution: เปิดโปรแกรม Microsoft Word และคลิกที่เครื่องมือ iThesis คลิกที่ไอคอน iThesis Add-in จะปรากฏกล่อง Activate Window ขึ้น คลิกที่ “Inactivate” โปรแกรมจะปิดตัวเองลง และหากผู้ใช้งานต้องการ Activate add-in ใหม่ ให้เปิดโปรแกรม Microsoft word ขึ้นอีกครั้ง และทำตามขั้นตอนในบทความ วิธีการ Activate Add-In

After Defense

เมนู After defense อยู่ภายใต้เมนู Report Data เป็นเมนูที่ผู้ใช้งานจะต้องกรอกข้อมูล ผลการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ (defense) และระบุการเผยแพร่วิทยานิพนธ์ ซึ่งจะเปิดเมนูนี้ได้เมื่อผ่านการอนุมัติโครงร่างวิทยานิพนธ์ (thesis proposal) แสดงตัวอย่างหน้าจอดังรูปด้านล่าง สำหรับการใช้งานในส่วนต่าง ๆ ผู้ใช้งานซึ่งเป็นผู้เรียนหรืออาจารย์ที่ปรึกษา (ขึ้นอยู่กับการตั้งค่าของมหาวิทยาลัย) มีดังต่อไปนี้ Plagiarism Detection  Turnitin – ระบุเปอร์เซ็นความคล้ายคลึงภายหลังการตรวจผ่านโปรแกรม Turnitin พร้อมแนบไฟล์ .pdf ซึ่งบางมหาวิทยาลัยอาจไม่มีการกรอกข้อมูลในส่วนนี้ ผู้ดูแลระบบแต่ละแห่งสามารถปิด/เปิดได้ตามต้องการ Akarawisut (อักขราวิสุทธิ์) – ระบบฯ จะระบุเปอร์เซ็นให้อัตโนมัติหลังได้รับการอนุมัติวิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์ฉบับสมบูรณ์จากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว Evaluation ผลการพิจารณาของการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ โดยผู้ใช้งานจะทำเครื่องหมายหน้าผลการสอบวิทยานิพนธ์ ที่ประกอบด้วย ดีมาก (very good), ดี (good), ผ่าน (passed), หรือไม่ผ่าน (not passed) กรณีที่มหาวิทยาลัยกำหนดรายการผลการสอบไม่ตรงกับระบบไอทีสิสอาจต้องมีการประยุกต์ใช้โดยเลือกให้มีความใกล้เคียงกับรายการที่มีอยู่ในระบบ Dissemination – การเผยแพร่วิทยานิพนธ์สามารถเลือกได้ […]

Basic Information

Applies to: iThesis 2016 iThesis 2017 Description: เมนู Basic Information อยู่ภายใต้เมนู Your Profile เป็นเมนูที่แสดงข้อมูลทั่วไปของนิสิตนักศึกษา โดยแบ่งการแสดงผลออกเป็น 2 ส่วนหลัก คือ ส่วนหัวข้อวิทยานิพนธ์ ส่วนข้อมูลพื้นฐานทั่วไป สำหรับการเข้าใช้งานครั้งแรก ที่เมนู Basic information ในส่วนจะแสดงผลดังภาพทางด้านบน หมายเลข 1   ผู้ใช้งานจะพบว่าข้อมูล Topic หรือหัวข้อวิทยานิพนธ์จะปรากฏข้อมูลเป็น (no topic)  ซึ่งเมื่อผู้ใช้งานกรอกข้อมูลหัวข้อวิทยานิพนธ์ลงในเมนู Topic แล้วซึ่งอยู่ภายใต้เมนู Electronic From และกลับมาใช้งานเมนูที่เมนู Basic information อีกครั้ง จะมีการแสดงผลข้อมูลหัวข้อวิทยานิพนธ์ตามที่ผู้ใช้งานระบุในเมนู Topic หมายเลข 2 ผู้ใช้งานจะต้องตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลพื้นฐานที่ปรากฏในเมนู Basic information ว่าถูกต้องหรือไม่ ซึ่งหากตรวจสอบแล้ว พบว่ามีข้อมูลไม่ถูกต้อง ให้นิสิตนักศึกษาติดต่อเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลระบบของมหาวิทยาลัย และแจ้งให้ทำการแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องต่อไป […]

Revision & Status

Applies to: iThesis Description: เมนู Revision & Status เป็นเมนูมีความสำคัญต่อระบบเป็นอย่างมาก เนื่องจากเมนูดังกล่าวจะเป็นเมนูที่ผู้ใช้งานจะเลือกไฟล์ส่งเป็น โครงร่างวิทยานิพนธ์ (proposal) วิทยานิพนธ์ฉบับร่าง (draft version) วิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ (complete version) แก้ไขโครงร่างวิทยานิพนธ์ (edit proposal) แก้ไขวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ (edit complete thesis) โดยเมนูดังกล่าวประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้ โดยแต่ละเวอร์ชันของวิทยานิพนธ์ที่แสดงผลบนเมนู Revision & Status ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้ ชื่อวิทยานิพนธ์ ไอคอนรูปไฟล์ Microsoft Word ไอคอนรูปไฟล์ PDF ไอคอนรูปไฟล์ EndNote เปอร์เซ็นการตรวจสอบการลักลอกวรรณกรรมจากอักขราวิสุทธิ์ วัน-เวลาที่บันทึกไฟล์เข้าสู่ระบบ

การลบไฟล์วิทยานิพนธ์ในเมนู Revision & Approval

  เมนู Revision & Approval บนระบบ iThesis  เมื่อผู้ใช้งานบันทึกไฟล์เข้าสู่ระบบมากกว่า 5 เวอร์ชัน ในเวอร์ชันที่ 6 เป็นต้นไป ระบบจะปรากฎปุ่มคำสั่ง “Delete this version”  ซึ่งหมายถึงผู้ใช้งานสามารถลบไฟล์เวอร์ชันดังกล่าวออกได้ โดยสาเหตุที่ระบบมีปุ่มคำสั่ง “Delete this version” นี้ขึ้น เนื่องจากพื้นที่การใช้งานในระบบที่ให้กับผู้ใช้งานแต่ละคนมีจำนวนจำกัด (500 MB)  และผู้ใช้งานบางท่านอาจบันทึกวิทยานิพนธ์ (Submit thesis file) เข้าสู่ระบบเป็นจำนวนมาก หรืออาจเป็นไฟล์วิทยานิพนธ์รวมกับไฟล์ EndNote  ซึ่งทำให้แต่ละเวอร์ชันที่บันทึกเข้าสู่ระบบมีขนาดใหญ่ ส่งผลให้พื้นที่บนระบบที่จัดสรรค์ให้กับผู้ใช้งานคนละ 500 MB นั้นเต็มได้  ดังนั้น หากผู้ใช้งานพบว่าพื้นที่การใช้งาน (disk usage) ของตนอาจไม่พอสำหรับการบันทึกไฟล์วิทยานิพนธ์ในครั้งถัดไป สามารถลบไฟล์ได้ ด้วยวิธีการดังที่จะอธิบายต่อไปนี้ Solution: ผู้ใช้งานตรวจสอบพื้นที่การใช้งานบนระบบจาก Disk usage ว่าพื้นที่ในระบบเพียงพอต่อการบันทึกไฟล์ในครั้งถัดไปหรือไม่ […]

เมนู Status (iThesis)

Applies to: iThesis 2016 2017 Description: เมนู Status เป็นเมนูที่แสดงสถานะการใช้งานของผู้ใช้งานในระบบ โดยเมนูดังกล่าวจะแสดงกราฟภาพรวมของผู้ใช้งานในระบบทั้งหมด แสดงรายชื่อของนิสิตนักศึกษาที่ใช้งานระบบฯ และส่วนประกอบของเมนู Status มีดังนี้ ส่วนที่ผู้ใช้งานสามารถเลือกได้ว่าต้องการทราบข้อมูลในภาคการศึกษาใด และทำวิทยานิพนธ์ประเภทใด ดุษฎีนิพนธ์ (Dissertation) วิทยานิพนธ์ (Thesis) สารนิพนธ์ (Independent study) *หรืออาจมีประเภทการทำวิทยานิพนธ์มากกว่าในรูปตัวอย่าง ซึ่งขึ้นอยู่กับมหาวิทยาลัย ส่วนการแสดงผลจำนวนการทำวิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์ในแต่ละขั้นตอนในลักษณะกราฟ โครงร่างวิทยานิพนธ์ (Proposal) วิทยานิพนธ์ฉบับร่าง (Draft) วิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ (Complete) การสแกนบาร์โค้ดโดยเจ้าหน้าที่บัณฑิตวิทยาลัย (Barcode) รายชื่อคณะในสถาบันนั้นๆ ซึ่งหากคณะใดมีนิสิตนักศึกษาทำรายการผ่านระบบ ในคณะดังกล่าวจะแสดงจำนวนของผู้ใช้งาน   เมื่อคลิกที่คณะที่แสดงจำนวนผู้ที่ทำรายการผ่านระบบ จะแสดงรายชื่อดังภาพ P – Proposal version D – Draft version C – Complete version […]