Applies to: iThesis 2017 Description: การใช้งานระบบไอทีสิสจะมีเทมเพลต (รูปแบบ) เอกสารวิทยานิพนธ์ตั้งต้นมาให้ 5 แบบ (ในเวอร์ชั่น 2017 จะมีให้ 9 แบบ) ซึ่งสถาบันการศึกษาจะเลือกรูปแบบที่สามารถใช้งานในระบบได้ครั้งละ 1 แบบเท่านั้น โดยนิสิตนักศึกษาทุกสาขาวิชา ทุกหลักสูตร และทุกระดับการศึกษาในสถาบันการศึกษาจะใช้เทมเพลตแบบเดียวกันทั้งหมด ซึ่งระบบรองรับการแก้ไขเทมเพลตตามที่ทางสถาบันการศึกษาต้องการ โดยจะต้องอาศัยความรู้พื้นฐานทางด้านการเขียนภาษา HTML และ XML และแนะนำให้เลือกแก้ไขเทมเพลตจากเทมเพลตตั้งต้นที่มีลักษณะใกล้เคียงกับที่ทางสถาบันการศึกษาต้องการมากที่สุด เพื่อควบคุมการแก้ไขเทมเพลตให้น้อยที่สุด ซึ่งจะช่วยลดข้อผิดพลาดจากการแก้ไขเทมเพลตได้ หมายเหตุ : การเปิดใช้งานการสร้างเทมเพลตโครงร่างวิทยานิพนธ์ขึ้นกับสถาบันการศึกษา ซึ่งสามารถแจ้งผู้ให้บริการติดตั้งระบบก่อนติดตั้งและใช้งานระบบไอทีสิส เทมเพลตเอกสารวิทยานิพนธ์ในที่ระบบรองรับให้สามารถแก้ไขได้ มีทั้งหมด 10 หน้า ได้แก่ Cover page first th: หน้าปกแรกของวิทยานิพนธ์ฉบับภาษาไทย Cover page first en: หน้าปกแรกของวิทยานิพนธ์ฉบับภาษาอังกฤษ Cover page […]
การใช้งานเมนูย่อย Danger Zone ในบทบาทผู้ดูแลระบบ (Admin)
เมนู Danger Zone เมนู Danger Zone เป็นเมนูย่อยที่อยู่ภายใต้เมนู SOP & MAINTENANCE ใช้สำหรับลบข้อมูลทั้งหมดของนิสิตนักศึกษา ทั้งข้อมูลวิทยานิพนธ์ ข้อมูลกิจกรรมต่าง ๆ ที่ดำเนินงานผ่านระบบไอทีสิส และข้อมูลไฟล์วิทยานิพนธ์ ซึ่งมักใช้ในกรณีที่เดิมเคยใช้บัญชีผู้ใช้งานนิสิตนักศึกษาในการทดสอบหรือฝึกอบรม แล้วต้องการลบข้อมูลทั้งหมด เพื่อเริ่มต้นทำกิจกรรมต่าง ๆ ใหม่ทั้งหมดในระบบ ซึ่งจะแตกต่างกับเมนู Cleanup Revision ตรงที่เมนู Cleanup Revision เป็นการลบในส่วนของไฟล์วิทยานิพนธ์ แต่เมนู Danger Zone เป็นการลบข้อมูลทั้งหมดนั่นเอง วิธีดำเนินการ เมื่อต้องการลบข้อมูลทั้งหมดของนิสิตนักศึกษาที่ต้องการ สามารถทำได้ดังนี้ กรอกรหัสนิสิตนักศึกษาที่ต้องการลบข้อมูลในระบบ กดติ๊กเครื่องหมายถูกเมื่อทำการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลแล้ว จากนั้นกด Preview ระบบจะแสดงข้อมูลของนิสิตนักศึกษา(Student information) ที่ท่านทำการกรอกไปก่อนหน้านี้ โดยข้อมูลจะประกอบไปด้วย Student ID – รหัสนิสิตนักศึกษา […]
การใช้งานเมนูย่อย Cleanup Revision ในบทบาทผู้ดูแลระบบ (Admin)
เมนู Cleanup Revision เมนู Clean up Revision เป็นเมนูย่อยที่อยู่ภายใต้เมนู SOP & MAINTENANCE ใช้สำหรับลบข้อมูลไฟล์วิทยานิพนธ์ทุกเวอร์ชั่นที่ไม่ได้รับผลพิจารณาอนุมัติของนิสิตนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาแล้ว เพื่อช่วยให้สถาบันการศึกษาลดพื้นที่การใช้งานของระบบ และเนื่องจากเมนู Cleanup Revision นี้เป็นการลบข้อมูลออกจากระบบ จึงไม่สามารถทำการกู้คืนข้อมูลที่ถูกลบไปแล้วได้ ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ผู้ดูแลระบบต้องการเก็บข้อมูลของนิสิตนักศึกษาไว้ ก่อนลบออกจากระบบ ต้องเข้าไปสำรองข้อมูลที่เมนู Backup Revision ก่อน ซึ่งในเมนูนี้จะประกอบไปด้วย 4 ส่วน ได้แก่ ส่วนของการเลือกปีการศึกษา (Select academic year) ปุ่ม Check ปุ่ม Cleanup ปุ่ม View log วิธีดำเนินการ กดที่กล่อง Select All และเลือกปีการศึกษาที่ต้องการตรวจสอบข้อมูล จากนั้นกดที่ปุ่ม check จะปรากฎข้อมูลนิสิตนักศึกษาที่จบการศึกษาแล้ว ซึ่งเป็นรายชื่อที่สามารถลบข้อมูลไฟล์วิทยานิพนธ์ออกได้ โดยข้อมูลที่แสดงจะเป็น […]
การใช้งานเมนูย่อย Backup Revision ในบทบาทผู้ดูแลระบบ (Admin)
เมนู Backup Revision เมนู Backup Revision เป็นเมนูย่อยภายใต้เมนู SOP & MAINTENANCE ใช้สำหรับสำรองข้อมูลไฟล์วิทยานิพนธ์ทุกเวอร์ชันของนิสิตนักศึกษา ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ผู้ดูแลระบบต้องการสำรองข้อมูลของนิสิตนักศึกษาก่อนลบในเมนู Cleanup Revision รวมทั้งยังสามารถตรวจสอบวันที่ทำการสำรองข้อมูลไว้ครั้งล่าสุดได้อีกด้วย ส่วนประกอบของเมนู Backup Revision จะประกอบไปด้วย 2 ส่วน ได้แก่ ปุ่ม Backup ปุ่ม View log ปุ่ม Backup ใช้สำหรับกระบวนการการเก็บสำรองข้อมูล Cleanup เมื่อทำการคลิกที่ปุ่ม Backup จะแสดงข้อมูลเป็นจำนวนของนิสิตนักศึกษาที่ได้ทำการสำรองข้อมูลแล้ว ปุ่ม View log เมื่อกดปุ่ม View log ระบบจะแสดงข้อมูล 3 ส่วน ได้แก่ Student ID – รหัสประจำตัวนิสิตนักศึกษา Description […]
เมนู Service Settings
Applies to: iThesis 2017 Description: ใช้สำหรับปิด/เปิดการเข้าใช้งานระบบด้วยการเลือกสถานะการเข้าสู่ระบบเป็น off (ปิดการเข้าใช้งาน) หรือ on (เปิดการเข้าใช้งาน) พร้อมทั้งสามารถระบุข้อความแจ้งการปิดการเข้าใช้งานระบบ ข้อความแจ้งเตือนที่ปรากฏหลังจากการ Login ทั้งในเว็บพอร์ทัล และ Login ในส่วนของ Add-in (ในกรณีที่ถูกปิดการเข้าใช้งานระบบ)
เมนู workflow
Applies to: iThesis 2017 Description: ใช้สำหรับกำหนดแบบฟอร์มเอกสารที่จัดทำขึ้นในเมนู Document control และ Receive form ลงในกระบวนการทำวิทยานิพนธ์ โดยมีขั้นตอนดังนี้ เลือกแบบฟอร์มเอกสารที่ต้องการ เลือกรูปแบบการวิจัยที่ต้องการกำหนดใช้งานเอกสาร เลือกกระบวนการหรือขั้นตอนที่ต้องการกำหนดใช้งานเอกสาร คลิก Apply กรณีที่มีนิสิตนักศึกษาดำเนินการตามกระบวนการที่กำหนดแล้ว จะไม่สามารถลบการกำหนดแบบฟอร์มเอกสารได้ (Modification disable)
เมนู Receive form
Applies to: iThesis 2017 Description: ใช้สำหรับกำหนดค่าที่เจ้าหน้าที่บัณฑิตจะต้องบันทึกข้อมูล เมื่อมีการตรวจสอบแบบฟอร์มเอกสารที่นิสิตนักศึกษาส่งมา โดยสามารถกำหนดรูปแบบของข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ ได้ เช่น ตัวเลือก (radio) วันที่ (date) และข้อความตัวอักษร (text) เป็นต้น ซึ่งสามารถกำหนดได้ว่าข้อมูลใดมีความจำเป็นต้องกรอกเข้าสู่ระบบ (Required)
เมนู Document control
Applies to: iThesis 2017 Description: ใช้สำหรับสร้างแบบฟอร์มเอกสารที่ทางสถาบันการศึกษาต้องการใช้งาน เพื่อกำหนดในกระบวนการทำงาน (Workflow) ให้นิสิตนักศึกษาสามารถดาวน์โหลดไปใช้งานผ่านระบบไอทีสิสได้ ซึ่งสามารถนำข้อมูลที่มีในระบบมาแสดงในแบบฟอร์มดังกล่าว ผ่านการตั้งค่าตัวแปรบนเอกสาร โดยมีขั้นตอนดังนี้ คลิก Create new เพื่อสร้างเอกสารใหม่ กรอกข้อมูลรหัสแบบฟอร์มเอกสารและชื่อเอกสาร สร้างเอกสารโดยใช้เครื่องมือต่าง ๆ ในส่วนของ content คลิก Variables เพื่อแสดงรายการตัวแปรที่ระบบได้จัดเตรียมไว้ให้สามารถใช้งานข้อมูลบนเอกสารได้ สามารถคลิกที่ตัวแปรที่ต้องการ เพื่อคัดลอก (copy) สามารถนำไปวางในตำแหน่งบนเอกสารที่ต้องการได้ คลิก Back เพื่อย้อนกลับไปหน้าสร้างเอกสาร
การใช้งานเมนู Graduation Lookup ในบทบาทของเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลระบบ (Admin)
เมนู Graduation Lookup เมนู Graduation Lookup ใช้สำหรับตรวจสอบข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษาทั้งนิสิตนักศึกษาภายในสถาบันการศึกษา และข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษาของสถาบันการศึกษาอื่น ๆ ที่อยู่ที่ สกอ. วิธีการใช้งานเมนู Graduation Lookup คลิกที่ปุ่ม Graduation Lookup ในหน้าเมนูของเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลระบบ (Admin) ทำการเพิ่มข้อมูลที่ต้องการตรวจสอบ โดยจะแบ่งเป็น 2 ส่วนดังนี้ ส่วนของของการกรองข้อมูล สามารถเลือกค้นหาข้อมูลจากภายในระบบไอทีสิสของสถาบันการศึกษา หรือขอค้นหาข้อมูลของสถาบันการศึกษาอื่น ๆ ผ่านการบริการข้อมูลของสกอ. ซึ่งสามารถเลือกปีการศึกษา(Academic year) และภาคการศึกษา (Semester) ได้ ส่วนของการค้นหา โดยเจ้าหน้าที่สามารถทำการค้นหาข้อมูลได้จากชื่อ หรือเลขประจำตัวประชาชนของนิสิตนักศึกษาได้ 3. ระบบจะแสดงข้อมูลนิสิตนักศึกษาผู้สำเร็จการศึกษา การแสดงผลของข้อมูล การแสดงผลจะประกอบไปด้วย Student ID – รหัสนิสิตนักศึกษา Name – ชื่อนิสิตนักศึกษา Department – สาขา […]
การใช้งานเมนู Fact & Figure ในหน้าเว็บพอร์ทัล
เมนู Fact & Figure เมนู Fact & Figure เป็นเมนูย่อย เมนูที่ 2 ถัดจากเมนู Statistic & Usage ซึ่งอยู่ในเมนูหลัก Dashboard ที่เป็นเมนูแรกของเมนูผู้ดูแลระบบ ซึ่งเมนู Fact & Figure นี้ เป็นเมนูที่ใช้สำหรับตรวจสอบสถิติข้อมูลต่าง ๆ ที่สำคัญในระบบไอทีสิส เมนู Fact & Ficgure จะแสดงข้อมูลที่ประกอบไปด้วย 9 ส่วน ได้แก่ Curriculum of Doctoral Degree แสดงจำนวนหลักสูตรระดับปริญญาเอก (Doctor Degree) Curriculum of Master Degree แสดงจำนวนหลักสูตรระดับปริญญาโท (Master Degree) […]